แฟ้มสะสมงานงาน

แฟ้มสะสมงาน
สัปดาห์ที่ 1 วันที่ 12 มิถุนายน 2560
1.เนื้อหา/กิจกรรมที่ทำในสัปดาห์นั้นๆ
-หาความหมายของคำว่าวัฒนธรรม (แหล่งอ้างอิง 3 แหล่ง)
          วัฒนธรรม  หมายถึง  ลักษณะที่แสดงถึงความเจริญงอกงาม ความเป็นระเบียบเรียบร้อย ความกลมเกลียวก้าวหน้าของชาติ และศีลธรรมอันดีของประชาชน, วัฒนธรรมในทางวิทยาการหมายถึง วิถีการดำเนินชีวิต ตรงกับภาษาอังกฤษคำว่า (the way of life) ซึ่งเป็นพฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิตสร้างขึ้น ด้วยการเรียนรู้จากกันและกัน และร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตนเนื้อหากิจกรรมที่ทำในสัปดาห์
ที่มา https://th.answers.yahoo.com
          วัฒนธรรม  หมายถึง   สิ่งที่ทําความเจริญงอกงามให้แก่หมู่คณะ เช่นวัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมในการแต่งกาย วิถีชีวิตของหมู่คณะเช่น วัฒนธรรมพื้นบ้านวัฒนธรรมชาวเขา
ที่มา http://dictionary.sanook.com
          วัฒนธรรม หมายรวมถึง ทุกสิ่ง ทุกอย่างที่มนุษย์สร้างขึ้นมา นับตั้งแต่ภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณี ศาสนา  กฎหมาย ศิลปะ จริยธรรม ตลอดจนวิทยาการและเทคโนโลยีต่าง ๆ อาจกล่าวได้ว่าวัฒนธรรมเป็นเครื่องมือที่มนุษย์ คิดค้นขึ้นมาเพื่อช่วยให้มนุษย์สามารถดำรงอยู่ต่อไปได้ เพราะการจะมีชีวิตอยู่ในโลกนี้ได้มนุษย์จะต้องรู้จักใช้ประโยชน์จากธรรมชาติและจะต้องรู้จักควบคุมความประพฤติของมนุษย์ด้วยกัน วัฒนธรรม คือคำตอบที่มนุษย์ในสังคมคิดขึ้นมาเพื่อแก้ปัญหาเหล่านี้
ที่มา https://www.gotoknow.org
สรุป  สิ่งที่มนุยษ์สร้างขึ้นมาเพื่อให้เกิดความเจริญงอกงาม

-หาความหมายของคำว่านวัตกรรม (แหล่งอ้างอิง 3 แหล่ง)
          นวัตกรรม หมายถึง  การทำสิ่งต่างๆด้วยวิธีใหม่ๆ และยังอาจหมายถึงการเปลี่ยนแปลงทางความคิด การผลิต กระบวนการ หรือองค์กร ไม่ว่าการเปลี่ยนนั้นจะเกิดขึ้นจากการปฏิวัติ การเปลี่ยนอย่างถอนรากถอนโคน หรือการพัฒนาต่อยอด 
ที่มา  https://th.wikipedia.org 
          นวัตตกรรม หมายถึง สิ่งใหม่ที่กระทำซึ่งเกิดจากการใช้ความรู้ ใช้ความคิดสร้างสรรค์  สิ่งใหม่ในที่นี้อาจจะอยู่ในรูปของผลิตภัณฑ์ แนวคิด หรือกระบวนการ  ที่สามารถนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนา
ที่มา  https://www.gotoknow.org
          นวัตกรรม คือ การเรียนรู้ การผลิต และการใช้ประโยชน์จากความคิดใหม่ เพื่อให้เกิดผลดีทางเศรษฐกิจและสังคม รวมถึงการกำเนิดผลิตภัณฑ์ การบริการ กระบวนการใหม่ การปรับปรุงเทคโนโลยี การแพร่กระจายเทคโนโลยี และการใช้เทคโนโลยีให้เป็นประโยชน์และเกิดผลพวงทางเศรษฐกิจและสังคม
ที่มา  http://math2sec.blogspot.com/
สรุป  การที่ใช้กระบวนการเรียนรู้และกระบวนการผลิตเพื่อพัฒนาสิ่งที่มีอยู่ให้ดีขึ้น

-หาความหมายและความแตกต่างของคำว่า "กลุ่ม" และ "ทีม"
          กลุ่ม  หมายถึง  การทำงานแบบกลุ่ม (Work group) คือ  การรวมกลุ่มที่มีกิจกรรมร่วมเพื่อใช้ข้อมูลร่วมกัน
และช่วยในการตัดสิ้นใจให้แก่สมาชิกในกลุ่มที่จะทำงานภายในขอบข่ายที่รับผิดชอบของ
แต่ละคนนั้น ในการทำงานของกลุ่มไม่จำเป็นที่จะต้องส่งเสริมซึ่งกันและกัน ดังนั้นจึงไม่มี
การเชื่อมโยงทรัพยากรและใช้ร่วมกันอย่างมีประสิทธิผลในทางบวก
นั่นคือเราใส่การทำงานของแต่ละคนเข้าไปผลงานที่ออกรวมกันแล้วจะได้เท่ากับที่ใส่เข้าไป
หรืออาจจะน้อยกว่าก็ได้
ที่มา http://wuthisakwar.blogspot.com/2010/11/teams-vs-groups.html
         การทำงานแบบทีม ( Work teams) เป็นการทำงานร่วมกันและส่งเสริมกันไปในทางบวกผลงานรวมของทีมที่ได้ออกมาแล้วจะมากกว่าผลงานรวมของแต่ละคนมารวมกัน
ที่มา http://wuthisakwar.blogspot.com/
 สรุป  การทำงานเป็นกลุ่มไม่จำเป็นที่จะต้องส่งเสริมซึ่งกันและกัน ดังนั้นจึงไม่มี
การเชื่อมโยงทรัพยากรและใช้ร่วมกันอย่างมีประสิทธิผลในทางบวกและผลงานที่ออกรวมกันแล้วจะได้เท่ากับที่ใส่เข้าไปหรืออาจจะน้อยกว่าก็ได้ แต่การทำงานเป็นทีมเป็นการทำงานร่วมกันและส่งเสริมกันไปในทางบวกและผลงานรวมของทีมที่ได้ออกมาแล้วจะมากกว่าผลงานรวมของแต่ละคนมารวมกัน

2.ทักษะทีได้/ความรู้ที่ได้
     -ฝึกทักษะการค้นคว้าผ่านระบบอินเตอร์เน็ตได้ไวขึ้น
     -ใช้โปรแกรมใหม่ที่ไม่เคยใช้ 
     -ได้สร้างบล็อกเกอร์เป็นของตัวเอง
     -เข้าใจความหมายของคำว่าวัฒนธรรมและนวัตกรรมชัดเจนขึ้น
     -รู้ความแตกต่างของคำว่ากลุ่มและทีม
     -หาความหมายเดียวแต่จากหลายๆแหล่ง
     -ฝึกการสรุปข้อมูลจากหลายๆแหล่งให้สั้นกระทัดรัด

3.ภาพ/วีดีโอประกอบสรุป











4.สรุป
     จาการเรียน 1 สัปดาห์ทำให้ได้ความรู้ต่างๆที่ยังรู้แล้วแต่ยังไม่ค่อยครอบคลุมมากนักและไม่สามารถแยกความแตกต่างได้
          วัฒนธรรม หมายถึง สิ่งที่มนุยษ์สร้างขึ้นมาเพื่อให้เกิดความเจริญงอกงาม
          นวัตกรรม หมายถึง การที่ใช้กระบวนการเรียนรู้และกระบวนการผลิตเพื่อพัฒนาสิ่งที่มีอยู่ให้ดีขึ้น
          ความแตกต่างระหว่างคำว่า "กลุ่ม" และ "ทีม" คือ การทำงานเป็นกลุ่มไม่จำเป็นที่จะต้องส่งเสริมซึ่งกันและกัน ดังนั้นจึงไม่มี การเชื่อมโยงทรัพยากรและใช้ร่วมกันอย่างมีประสิทธิผลในทางบวกและผลงานที่ออกรวมกันแล้วจะได้เท่ากับที่ใส่เข้าไปหรืออาจจะน้อยกว่าก็ได้ แต่การทำงานเป็นทีมเป็นการทำงานร่วมกันและส่งเสริมกันไปในทางบวกและผลงานรวมของทีมที่ได้ออกมาแล้วจะมากกว่าผลงานรวมของแต่ละคนมารวมกัน
และยังได้ทักษะเพิ่มากขึ้น เช่น

  -ฝึกทักษะการค้นคว้าผ่านระบบอินเตอร์เน็ตได้ไวขึ้น

     -ใช้โปรแกรมใหม่ที่ไม่เคยใช้ 

     -ได้สร้างบล็อกเกอร์เป็นของตัวเอง

     -เข้าใจความหมายของคำว่าวัฒนธรรมและนวัตกรรมชัดเจนขึ้น

     -รู้ความแตกต่างของคำว่ากลุ่มและทีม

     -หาความหมายเดียวแต่จากหลายๆแหล่ง

     -ฝึกการสรุปข้อมูลจากหลายๆแหล่งให้สั้นกระทัดรัด



แฟ้มสะสมงาน
สัปดาห์ที่ 2 วันที่ 19 มิถุนายน 2560
1.เนื้อหา/กิจกรรมที่ทำในสัปดาห์นั้นๆ
         ให้แต่ละกลุ่มรวบรวมความหมาย ความสำคัญของภาษาและวัฒนธรรม จากแหล่งข้อมูล 10 แหล่ง จากที่อาจารย์สืบค้นมาให้ ทุกคนในกลุ่มช่วยกันรวบรวมความหมายและอธิบายตามความเข้าใจของนักศึกษา
         ภาษา หมายถึง สัญลักษณ์หรือถ้อยคำที่ใช้สื่อความหมายของมนุษย์เพื่อสื่อสารทำความเข้าใจกันระหว่างคนกับคนในสังคม ซึ่งมีภาษาพูดกับภาษาเขียน 
ความสำคัญของภาษา
-ภาษาใช้แสดงไมตรีจิตต่อกัน
-ภาษาใช้แสดงกฎเกณฑ์ของสังคม
-ภาษาใช้แสดงความสัใพันธ์ของบุคคล
          วัฒนธรรม หมายถึง พฤติกรรมที่มนุษย์สร้างขึ้นมาเป็นศิลปวัฒนธรรมเพื่อใช้ในการดำเนินชีวิตในการอยู่ร่วมกันเป็นหมู่คณะ ทำให้เกิดความมีระเบียบวินัยและความเจริญงอกงาม
ความสำคัญของวัฒนธรรม
-วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ชี้ให้เห็นความความแตกต่างของบุคคล กลุ่มคน หรือชุมชน
-เป็นสิ่งที่ทำให้เห็นว่าคนมีความแตกต่างจากสัตว์
-ช่วยให่เข้าใจในสิ่งเห็นได้ง่ายขึ้น
-เป็นตัวกำหนดปัจจัย 4 
-เป็นตัวกำหนดการแสดง ความรู้สึกทางอารมณ์
          นำมาสรุปเป็นแผนผังมโนทัศน์ อธิบายพร้อมบันทึกวีดีโอ

2.ทักษะทีได้/ความรู้ที่ได้
-การทำงานเป็นกลุ่ม
-การวิเคราะห์ การรวบรวมข้อมูล
-การนำเสนอ


3.ภาพ/วีดีโอประกอบสรุป




4.สรุป
         จากการทำงานเป็นกลุ่มในสัปดาห์ที่ 2 ทำให้สามารถรวบรวมข้อมูลจากหลายๆแหล่งนำมาสรุปมาความคิดของกลุ่มได้
           ภาษา หมายถึง สัญลักษณ์หรือถ้อยคำที่ใช้สื่อความหมายของมนุษย์เพื่อสื่อสารทำความเข้าใจกันระหว่างคนกับคนในสังคม ซึ่งมีภาษาพูดกับภาษาเขียน 
           วัฒนธรรม หมายถึง พฤติกรรมที่มนุษย์สร้างขึ้นมาเป็นศิลปวัฒนธรรมเพื่อใช้ในการดำเนินชีวิตในการอยู่ร่วมกันเป็นหมู่คณะ ทำให้เกิดความมีระเบียบวินัยและความเจริญงอกงาม


แฟ้มสะสมงาน
สัปดาห์ที่ 3 วันที่ 26 มิถุนายน 2560
1.เนื้อหา/กิจกรรมที่ทำในสัปดาห์นั้นๆ
   -กิจกรรมกลุ่มการค้นหาข้อมูล Model of Communication
   -รายละเอียดและการนำ Model of Communication Berlo's S-M-C-R ไปประยุกต์ใช้กับสาขาวิชา


2.ทักษะทีได้/ความรู้ที่ได้
-ทักษะการค้นคว้าผ่านระบบอินเทอร์เน็ต-ทัก
-ทักษะการคิด วิเคราะห์ เพื่อพิจารณา ปรับเปลี่ยน Models of communication  เข้ากับสาขาวิชาการสอน
-เข้าการกล่าวแนะนำตัวเองในสถานที่ใหม่ หรือโรงเรียนใหม่สำหรับครูผู้สอน


3.ภาพ/วีดีโอประกอบสรุป


4.สรุป
จากการเรียนในสัปดาห์ที่ 3 พบว่าเข้าใจมากขึ้นในเรื่องระดับภาษา ภาษาอังกฤษในชั้นเรียน

   ระดับภาษา       

ยังได้ทักษะมากมาย
    -ทักษะการสื่อสาร การถามตอบ กล้าแสดงความคิดเห็นและการทำงานเป็นกลุ่ม
    -ทักษะการค้นคว้าผ่านระบบอินเทอร์เน็ต
    -การประยุกต์ใช้ Model ในการสอนสาระการเรียนรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
    -ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษในชั้นเรียน




แฟ้มสะสมงาน
สัปดาห์ที่ 4 วันที่ 3 กรกฎาคม 2560
1.เนื้อหา/กิจกรรมที่ทำในสัปดาห์นั้นๆ
         -การแนะนำตัวหน้าชั้นเรียนในฐานะบุคลากรใหม่ด้วยภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ    
           -กิจกรรมการประเมินการกล่าวแนะนำตัวหน้าชั้นเรียนของเพื่อนเป็นรายบุคคลผ่านแบบประเมินอิเล็กทรอนิกส์ โดยการกรอกรายชื่อผู้นำเสนอและที่อยู่อีเมลล์ของผู้ที่ทำการประเมิน
           -กิจกรรมแต่งประโยคในระดับภาษาที่แตกต่าง
              

2.ทักษะทีได้/ความรู้ที่ได้
-ทักษะความกล้าแสดงออกในการนำเสนอ
-การเรียนรู้ภาษาในระดับต่างๆ
3.ภาพ/วีดีโอประกอบสรุป




4.สรุป
-ได้ฝึกความกล้าแสดงออก ที่จะต้องออกมาแนะนำตัวหน้าห้อง ให้เพื่อนๆฟัง
-ได้รู้การแนะนำตัวแบบภาษาอังกฤษและภาษาไทยที่ถูกต้อง
-ได้รู้ประเมินแบบอิเล็กทรอนิกส์
-ได้รู้จักระดับภาษาที่จะต้องใช้ในการพูด เมื่อต้องอยู่ในสถานการณ์ที่สำคัญๆ
-การวางตัวที่ดี ต่อหน้าคนจำนวนมาก
-ฝึกการเป็นผู้ฟังที่ดี




แฟ้มสะสมงาน
สัปดาห์ที่ 6 วันที่ 17 กรกฎาคม 2560
1.เนื้อหา/กิจกรรมที่ทำในสัปดาห์นั้นๆ
-การแนะนำตัวหน้าชั้นเรียนและการประเมินเพื่อน
-เล่นเกมส์จากแอฟพิเคชั่น Kahoot 

2.ทักษะทีได้/ความรู้ที่ได้
-ได้ค้นคว้าข้อมูล เนื้อหาจากอินเตอร์เน็ต
-ได้ใช้สื่อต่างๆ ในการเรียนรู้
-ได้ทั้งความรู้และความสนุก ในการเรียนรู้จากเกมส์ที่เล่น
-ได้ฝึกการเป็นผู้ฟังที่ดี ในขณะที่เพื่อนแนะนำตัวเอง


3.ภาพ/วีดีโอประกอบสรุป






4.สรุป
-ได้ทักษะในการค้นคว้าข้อมูล คำสัพท์ เนื้อหาจากอินเตอร์เน็ต
-ได้ทักษะในการใช้สื่อต่างๆ ในการเรียนรู้
-การทำแบบประเมินในระยะเวลาที่รวดเร็ว
-ทักษะการแสดงความคิดเห็นและข้อชี้แนะ




แฟ้มสะสมงาน
สัปดาห์ที่ 7 วันที่ 24 กรกฎาคม 2560
1.เนื้อหา/กิจกรรมที่ทำในสัปดาห์นั้นๆ
  บทที่ 5 งานสัปดาห์ที่ 7


collaboration= การร่วมมือ  การช่วยเหลือ การเป็นไส้สึก      
formulation= การกำหนด   การบัญญัติ การคิดขึ้น การประดิษฐ์ขึ้น
learning= การเรียนรู้  ความรู้ที่ได้มาจากการอ่านหรือการศึกษา
creativity= ความคิดสร้างสรรค์  ความสามารถในการสร้างสรรค์
questions= คำถาม   ประโยคในรูปแบบคำถามที่ส่งไปยังคนอื่นเพื่อให้ได้ข้อมูลในการตอบกลับ
communication= การสื่อสาร  การให้หรือการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นข้อมูลโดยการพูด การเขียนหรือเครื่องหมาย
literacy= การรู้หนังสือ คุณภาพหรือสถานะของการรู้หนะงสือ โดยเฉพาะอย่างยิ่งความสามารถในการอ่านและการเขียน
solution= วิธีการแก้  การแก้ปัญหาคำถาม
deduction= การหัก  การกระทำหรือกระบวนการหักล้าง การลบ

processing= การประมวลผล การดำเนินการอย่างต่อเนื่องหรือการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในลักษณะที่แน่นอน

2.ทักษะทีได้/ความรู้ที่ได้
-การค้นคว้าความหมายของคำศัพท์ทั้งจากอังกฤษเป็นอังกฤษและอังกฤษเป็นไทย
-เทคนิคการเดาความหมายของคำศัพท์จากรากศัพท์
-ทักษะการใช้โปรแกรมแปลภาษา


3.ภาพ/วีดีโอประกอบสรุป

4.สรุป
          จากการเรียนสัปดาห์ที่ 7 ทำให้ได้รู้ ความหมายของคำศัพท์เฉพาะทางของการสอนวิทยาศาสตร์ ความหมายของคำศัพท์เดียวกันในมุมมองของต่างชาติกับคนไทย
ทักษะที่ได้ ทักษะการสื่อสารระหว่างการทำงาน การถาม-ตอบ ทักษะการยกตัวอย่างและถ่ายทอดสิ่งที่ตนเข้าใจให้เพื่อนเข้าใจด้วย
         
แฟ้มสะสมงาน
สัปดาห์ที่ 8 วันที่ 31 กรกฎาคม 2560
1.เนื้อหา/กิจกรรมที่ทำในสัปดาห์นั้นๆ
1.1 Food chain
From Wikipedia, the free encyclopedia
For other uses, see Food chain (disambiguation).
Food chain in a Swedish lake. Osprey feed on northern pike, which in turn feed on perch which eat bleak that feed on mountain shrimp.
      
              A food chain is a linear network of links in a food web starting from producer organisms (such as grass or trees which use radiation from the Sun to make their food) and ending at apex predator species (like grizzly bears or killer whales), detritivores (like earthworms or woodlice), or decomposer species (such as fungi or bacteria). A food chain also shows how the organisms are related with each other by the food they eat. Each level of a food chain represents a different trophic level. A food chain differs from a food web, because the complex network of different animals' feeding relations are aggregated and the chain only follows a direct, linear pathway of one animal at a time. Natural interconnections between food chains make it a food web. A common metric used to quantify food web trophic structure is food chain length. In its simplest form, the length of a chain is the number of links between a trophic consumer and the base of the web and the mean chain length of an entire web is the arithmetic average of the lengths of all chains in a food web.

Food chains were first introduced by the African-Arab scientist and philosopher Al-Jahiz in the 9th century and later popularized in a book published in 1927 by Charles Elton, which also introduced the food web concept.

Food chain length[edit]
        
                      This food web of waterbirds from Chesapeake Bay is a network of food chains
Food chains are directional paths of trophic energy or, equivalently, sequences of links that start with basal species, such as producers or fine organic matter, and end with consumer organisms.
                     The food chain's length is a continuous variable that provides a measure of the passage of energy and an index of ecological structure that increases in value counting progressively through the linkages in a linear fashion from the lowest to the highest trophic (feeding) levels. Food chains are often used in ecological modeling (such as a three species food chain). They are simplified abstractions of real food webs, but complex in their dynamics and mathematical implications.[8] Ecologists have formulated and tested hypotheses regarding the nature of ecological patterns associated with food chain length, such as increasing length increasing with ecosystem size, reduction of energy at each successive level, or the proposition that long food chain lengths are unstable. Food chain studies have an important role in ecotoxicology studies tracing the pathways and biomagnification of environmental contaminants.Producers, such as plants, are organisms that utilize solar or chemical energy to synthesize starch. All food chains must start with a producer. In the deep sea, food chains centered on hydrothermal vents and cold seeps exist in the absence of sunlight. Chemosynthetic bacteria and archaea use hydrogen sulfide and methane from hydrothermal vents and cold seeps as an energy source (just as plants use sunlight) to produce carbohydrates; they form the base of the food chain. Consumers are organisms that eat other organisms. All organisms in a food chain, except the first organism, are consumers.
In a food chain, there is also reliable energy transfer through each stage. However, all the energy at one stage of the chain is not absorbed by the organism at the next stage. The amount of energy from one stage to another decreases.

2.ทักษะทีได้/ความรู้ที่ได้
-ได้ฝึกทักษะการสื่อสาร การทำงานเป็นกลุ่ม  การเป็นผู้ฟังที่ดี เมื่อทำงานร่วมกับผู้อื่น
-ฝึกการทำ Mind mapping
-ได้รับความรู้เพิ่มเติมจากการค้นหาข้อมูลในอินเตอร์เน็ต
-ฝึกทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ

3.ภาพ/วีดีโอประกอบสรุป









4.สรุป
-ได้ฝึกทักษะการสื่อสาร การทำงานเป็นกลุ่ม  การเป็นผู้ฟังที่ดี เมื่อทำงานร่วมกับผู้อื่น
-ฝึกการทำ Mind mapping
-ได้รู้ถึงความหมายของภาษาอังกฤษที่ได้แปลมา เรื่องห่วงโซ่อาหาร


แฟ้มสะสมงาน
สัปดาห์ที่ 9 วันที่ 8 สิงหาคม 2560
1.เนื้อหา/กิจกรรมที่ทำในสัปดาห์นั้นๆ
  1. ใหนักศึกษาค้นคว้า หาหมวดคําศัพทที่นอกเหนือจากเอกสารประกอบการสอน
  2. นําเสนอเปนกลุม
  3. สร้างบทสนทนา
สาธารณรัฐฟิลิปปินส์


หมวดทักทาย

คำศัพท์ 
คำอ่าน 
สวัสดีกูมูสต้า
อากาศดีจังมากันดัง พานาฮอน 
สบายดีไหมกูมูสต้า กา
พบกันใหม่มากิตา คายอง มูลิ
ขอบคุณ ซาลามัต
นอนหลับฝันดี มาทูลอก นัง มาบูติ 
เชิญ แมค อันยาย่า (mag-anyaya) 
ไม่เป็นไร ฮินดี้ บาเล 
ยินดีที่ได้รู้จักนาตูตูวา นาอลัม โม 
ลาก่อนปาอาลัม
ใช่ โอ้โอ 
ไม่ใช่ ฮินดี้ 
อากาศร้อนมากมัสยาดอง มาอินิท
อากาศหนาวมาก มัสยาดอง มาลามิค พานาฮอน 
หมวดอาหาร
คำศัพท์ 
คำอ่าน 
ก๋วยเตี๋ยว มิกิ
น้ำแกง โซปัส
ของหวาน ฮิมากัส
ขนมดิเซิ้ร์ท
ไอศกรีม ซอร์เบเทส
น้ำทูบิก 
กาแฟอั๊ง ขะเพ่
นมกาตัส 
เนื้อหมูอั๊ง บาโบย
ไก่อั๊ง มะนก 
ปลาอั๊ง อิสด้า 
เนื้อวัวอั๊ง คาเน่ 
ผักกูเล
ผลไม้อั๊ง พรูตัส 
อร่อยมาซารับ
เผ็ดมาอางแฮง 
หวานมาตามิส
เปรี้ยวมาซิม 
เค็มมาลัด
หมวดการนับเลข
คำศัพท์
คำอ่าน 
หนึ่งอิซ่า
สองดาราวา 
สามแท้ทโล่ 
สี่อะพัต 
ห้าลิม่า 
หกอะนิม
เจ็ดพิโต้ 
แปดวาโล่ 
เก้าสิแยม 
สิบซำปู 
วันอะรอ 
สัปดาห์ลิ้งโก้ 
เดือนบูวาน
ปีทาออน
กี่โมงแล้ว อนง ออราส นา 
ชั่วโมงออราส
นาที มินูโต้
หมวดการเดินทาง
คำศัพท์
คำอ่าน 
โรงแรม โอเทล 
โรงภาพยนตร์ ซีเนฮาน 
โรงละครเทียโตร
โรงพยาบาลออสปิตอล
พิพิธภัณฑ์มูสิโอ้
สถานีตำรวจ เอสตัสยอน อัง ปูลิส 
ภัตตคาารเรสตอรอน 
ถนนแคลยี่ 
ร้านค้ามามิลี่
ห้างสรรพสินค้าดีพาร์ทเม้นท์สโตร์ 
ร้านขายยาโบติก้า
สวนสาธารณะแปมปูบลิคอน ปาเก้ 
สนามกีฬาอิสตาเดี้ยม
สนามบินปาริปารัน 
สถานีขนส่งสายเหนือ ฮิราก้า บัส เทอมินอล 
สถานีขนส่งสายใต้ ติม้อก บัส เทอมินอล 
สถานีขนส่งสายตะวันออกสิลังกัน บัส เทอมินอล
ธนาคารแบงโก้
แท็กซี่แท้กซี่
รถเมล์บัส
รถไฟฟ้าเอ็มอาร์ที เม้ทโทร เรล ทรานสิท
รถไฟฟ้าใต้ดินเอ็มอาร์ที
เรือลันซัง ปันตาวิท 
รถทัวร์ลิเบร่
เครื่องบินอีโรลาโน่
2.ทักษะทีได้/ความรู้ที่ได้
-รู้ข้อมูลต่างๆของประเทศฟิลิปปินส์
-เข้าใจและสามารถเปรียบกับประเทศอื่นๆได้

3.ภาพ/วีดีโอประกอบสรุป






4.สรุป
          ทำให้ได้ความรู้คำศัพท์และความหมายของภาษาฟิลิปปินส์ เช่น หมวดทักทาย หมวดอาหาร หมวดเดินทาง และหมวดนับเลข รวมถึงการออกเสียง

แฟ้มสะสมงาน
สัปดาห์ที่ 11 วันที่ 21 สิงหาคม 2560

1.เนื้อหา/กิจกรรมที่ทำในสัปดาห์นั้นๆ
          สมาชิกในกลุ่มนำเสนอข้อมูลที่เกียวกับประเทศฟิลิปปินส์หน้าห้องเรียนในรูปแบบของเพาเวอร์พ้อย





ข้อมูลทั่วไปของประเทศฟิลิปปินส์
ชื่อภาษาไทย : สาธารณรัฐฟิลิปปินส์
ชื่อภาษาอังกฤษ : Republic of the Philippines
ที่ตั้ง : ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN)
เมืองหลวง : กรุงมะนิลา (Manila)
ภาษาราชการ : ภาษาตากาล็อกและอังกฤษ (Filipino/English)
สกุลเงิน : เปโซ (Peso, PHP)
พื้นที่ : 115,120 ตารางไมล์ (298,170 ตารางกิโลเมตร)
จำนวนประชากร : 92,337,852 คน
การปกครอง : ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีประธานาธิบดีเป็นประมุข
Time Zone : UTC+8 (ช้ากว่าเวลาประเทศไทย 1 ชั่วโมง)
GDP : 456,418 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
รายได้ต่อหัวประชากร : 4,682 ดอลลาร์สหรัฐต่อปี

รหัสโทรศัพท์ (IDC) : +63

2.ทักษะทีได้/ความรู้ที่ได้

-ข้อมูลต่างๆของประเทศฟิลิปปินส์
-เพิ่มทักษะการใช้โปรแกรม Power point
-การนำเสนองานหน้าชั้นเรียนเป็นกลุ่ม
    


3.ภาพ/วีดีโอประกอบสรุป






4.สรุป
          จากการเรียนในสัปดาห์ที่ 11 ถึงแม้ว่าเราอาจจะรู้ถึงข้อมูลในแต่ละประเทศแล้วแต่อาจรู้ไม่ครอบคลุมการเรียนในสัปดาห์นี้จะทำให้รู้ถึงข้อมูลของแต่ละประเทศมากขึ้น
ประเทสฟิลิปปินส์
ชื่อทางการ  สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines) เมืองหลวง  มะนิลา (Manila)ศาสนาประจำชาติ  ศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก ดอกไม้ประจำชาติ  พุดแก้ว (Sampaguita Jasmine) วันชาติ   มิถุนายน ภาษาประจำชาติ  ภาษาฟิลิปิโน ภาษาราชการ  ภาษาฟิลิปิโน และภาษาอังกฤษ


แฟ้มสะสมงาน
สัปดาห์ที่ 12 วันที่ 28 สิงหาคม 2560
1.เนื้อหา/กิจกรรมที่ทำในสัปดาห์นั้นๆ
           1.1ทักษะภาษาอังกฤษสำหรับวิชาชีพครู


 คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรม (Vocabulary Items Related to Culture) 
  Culture: Culture can be defined as all the ways of life including arts, beliefs and institutions of a population that are passed down from generation to generation. Culture has been called "the way of life for an entire society." As such, it includes codes of manners, dress, language, religion, rituals, games, norms of behavior such as law and morality, and systems of belief as well as the art.

          Cultured:   Showing good taste or manners

        Belief:    1. The mental act, condition, or habit of placing trust or confidence in another:  " My belief in you is as strong as ever."    2. Mental acceptance of and conviction in the truth, actuality, or validity of something:  " His explanation of what happened defies belief."    3. Something believed or accepted as true, especially a particular tenet or a body of tenets accepted by a group of persons.

        Ethics:   A system of accepted beliefs which control behavior, especially such a system based on morals.

      Values:   Beliefs of a person or social group in which they have an emotional investment (either for or against something).  "He has very conservatives values"

       Civilization:   The social process whereby societies achieve an advanced stage of development and organization

      Cultural specificities:   It's interesting to learn about cultural specificities of other countries

      Culturally acceptable:   It isn't culturally acceptable in some countries to blow your nose in public places.

      Cultural conflicts:   We should try hard to avoid cultural conflicts as they are a result of a misunderstanding.

       Cultural stereotypes:   A fixed idea that people have about what someone or something is like, especially an idea that is wrong.   Cultural stereotypes make our understanding of other cultures difficult.

       Cultural diversity:   The fact or quality of cultures of being diverse or different.   Cultural diversity should be considered as a source of enrichment rather a source of conflicts.

       Cultural uniqueness:   Culture/customs which make a country distinctive/different from other countries.

      Cultural misconceptions:   Mistaken thoughts, idea, or notion; misunderstandings about a culture. These are false ideas about a culture resulting from misunderstanding rather than from reality.

       Cultural shock:   A condition of confusion and anxiety affecting a person suddenly exposed to an alien culture or milieu. "The first time she went to Japan, Isabel got a huge culture shock."

       Racial behavior:   A behavior resulting from a belief that race accounts for differences in human character or ability and that a particular race is superior to others (racism or racialism.) " We may limit the danger of racial behavior if there is mutual understanding of different cultures."

        Local culture:   Local culture refer to the culture developed at the local level.

        Global culture:   Global culture refer to the culture developed at the global level through the new information technologies.

        Global village:   The entire world and its inhabitants. The world thought of as being closely connected by modern communication and trade and thus eliminating borders.
         Globalization:   Globalization in its literal sense is the process of transformation of local phenomena into global ones. It can be described as a process by which the people of the world are unified into a single society and function together. This process is a combination of economic, technological, sociocultural and political forces. Globalization is often used to refer to economic globalization, that is, integration of national economies into the international economy through trade, foreign direct investment, capital flows, migration, and the spread of technology.

         Stereotype:   A generalized perception of first impressions. Stereotypes, therefore, can instigate prejudice and false assumptions about entire groups of people, including the members of different ethnic groups, social classes, religious orders, the opposite sex, etc. A stereotype can be a conventional and oversimplified conception, opinion, or image, based on the assumption that there are attributes that members of the "other group" have in common.
           1.2ทำแผนผังความคิดเรื่อง 7 ways to protect the environment

2.ทักษะทีได้/ความรู้ที่ได้
-ทักษะการแปลความหมายโดยรวมของแต่ละคำโดยใช้ภาษาอังกฤษ
-เพิ่มทักษะการค้นหาความหมายของคำศัพท์
-เพิ่มทักษะการใช้โปรแกรมต่างๆ

3.ภาพ/วีดีโอประกอบสรุป


4.สรุป
         จากการเรียนในสัปดาห์ที่ 12 ทำให้ได้ความรู้ในการอธิบายความหมายของคำศัพท์และวิธีการรักษาสิ่งแวดล้อม
และยังได้ทักษะในการทำงานเป็นคู่ ความสามัคคีการแบ่งงาน



แฟ้มสะสมงาน
สัปดาห์ที่ 13 วันที่ 4 กันยายน 2560
1.เนื้อหา/กิจกรรมที่ทำในสัปดาห์นั้นๆ
         1)แต่ละกลุ่มอ่านเอกสารประกอบการสอนเรื่อง culture shock 
  Culture shock 
      Culture shock is an experience a person may have when one moves to a cultural environment which is different from one's own; it is also the personal disorientation a person may feel when experiencing an unfamiliar way of life due to immigration or a visit to a new country, a move between social environments, or simply transition to another type of life. One of the most common causes of culture shock involves individuals in a foreign environment. Culture shock can be described as consisting of at least one of four distinct phases: honeymoon, negotiation, adjustment, and adaptation.   Common problems include: information overload, language barrier, generation gap, technology gap, skill interdependence, formulation dependency, homesickness (cultural), infinite regress (homesickness), boredom (job dependency), response ability (cultural skill set). There is no true way to entirely prevent culture shock, as individuals in any society are personally affected by cultural contrasts differently. Culture shock generally moves through four different phases: honeymoon, frustration, adjustment and acceptance. While individuals experience these stages differently and the impact and order of each stage varies widely, they do provide a guideline of how we adapt and cope with new cultures. 1. Honeymoon During this period, the differences between the old and new culture are seen in a romantic light. For example, in moving to a new country, an individual might love the new food, the pace of life, and the locals' habits. During the first few weeks, most people are fascinated by the new culture. They associate with nationals who speak their language, and who are polite to the foreigners. Like most honeymoon periods, this stage eventually ends. 2. Negotiation After some time (usually around three months, depending on the individual), differences between the old and new culture become apparent and may create anxiety. Excitement may eventually give way to unpleasant feelings of frustration and anger as one continues to experience unfavorable events that may be perceived as strange and offensive to one's cultural attitude. Language barriers, stark differences in public hygiene, traffic safety, food accessibility and quality may heighten the sense of disconnection from the surroundings. While being transferred into a different environment puts special pressure on communication skills, there are practical difficulties to overcome, such as circadian rhythm disruption that often leads to insomnia and daylight drowsiness; adaptation of gut flora to different bacteria levels and concentrations in food and water; difficulty in seeking treatment for illness, as medicines may have different names from the native country's and the same active ingredients might be hard to recognize. Still, the most important change in the period is communication: People adjusting to a new culture often feel lonely and homesick because they are not yet used to the new environment and meet people with whom they are not familiar every day. The language barrier may become a major obstacle in creating new relationships: special attention must be paid to one's and others' culture-specific body language signs, linguistic faux pas, conversation tone, linguistic nuances and customs, and false friends. In the case of students studying abroad, some develop additional symptoms of loneliness that ultimately affect their lifestyles as a whole. Due to the strain of living in a different country without parental support, international students often feel anxious and feel more pressure while adjusting to new cultures—even more so when the cultural distances are wide, as patterns of logic and speech are different and a special emphasis is put on rhetoric. 3. Adjustment Again, after some time (usually 6 to 12 months), one grows accustomed to the new culture and develops routines. One knows what to expect in most situations and the host country no longer feels all that new. One becomes concerned with basic living again, and things become more "normal". One starts to develop problem-solving skills for dealing with the culture and begins to accept the culture's ways with a positive attitude. The culture begins to make sense, and negative reactions and responses to the culture are reduced. 4. Adaption In the mastery stage individuals are able to participate fully and comfortably in the host culture. Mastery does not mean total conversion; people often keep many traits from their earlier culture, such as accents and languages. It is often referred to as the bicultural stage.
         2)หาคำศัพท์ แปลความหมายคำศัพท์ที่ไม่สามารถแปลได้ และนำมาแต่งประโยคคำถาม what When why Where How Which 

2.ทักษะทีได้/ความรู้ที่ได้

-ทักษะการแปลคำศัพท์อังกฤษ-อังกฤษ
-ทักษะการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
-ทักษะการโต้ตอบโดยใช้ภาษาอังกฤษ
-ทักษะการรวบรวมข้อมูลและสรุปผล

3.ภาพ/วีดีโอประกอบสรุป



4.สรุป
        จากการเรียนสัปดาห์ที่ 13 ทำให้ได้รู้ถึงการเปลี่ยนที่อยู่ใหม่ เจอสิ่งใหม่ๆ วัฒนธรรมและภาษาที่ใหม่จะทำให้เรามีอาการ 4 อย่าง 1)Honeymoon 2)Negotiation 3)Adjustment 4)Adaption คือช่วงแรกที่เราไปเจอกับสิ่งที่ใหม่เราจะมีอาการตื่นเต้น เมื่ออยู่ได้สักพักเราก็จะมีอาการต่อต้าน เมื่ออยู่นานขึ้นก็จะพยายามปรับตัวให้สามารถอยู่กับสิ่งแวดล้อมรอบตัวได้ ถ้าสามารถปรับตัวได้ก็จะมีสภาวะคงตัวตามมา
          และยังได้ทักษะต่างๆ การอธิบายคำศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใช้ภาษาอังกฤษ ทำให้มีทักษะในการสื่อสารภาษาอังกฤษได้มากขึ้น

แฟ้มสะสมงาน

สัปดาห์ที่ 14 วันที่ 11 กันยายน 2560

1.เนื้อหา/กิจกรรมที่ทำในสัปดาห์นั้นๆ
-อาจารย์บอกแนวข้อสอบ
-reviw cuiture shock




2.ทักษะทีได้/ความรู้ที่ได้
-ได้ความรู้เพิ่มจากลุ่มอื่น


3.ภาพ/วีดีโอประกอบสรุป


4.สรุป
          ได้รู้การอธิบายความหมายของคำศัพท์โดยใช้ภาษาอังกฤษเพิ่มมากขึ้น และได้รู้แนวทางในการจะอ่านหนังสือสอบ

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

งานที่ 4 แต่งประโยคในระดับภาษาที่แตกต่างกัน

root+prefix+suffix